วันพฤหัสบดีที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บทที่3 ซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์



ซอฟต์แวร์เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งเขียนขึ้นด้วยภาษาต่างๆซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ[ststem Softeware]และซอฟต์แวร์ประยุกต์[Application Software]


ซอฟต์แวร์ระบบ


ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมหรือคำสั่งที่ทำหน้าที่ควบคุมการปฏิบติงานของคอมพิวเตอรืการสื่อสารข้อมุลและเครือข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ ซอฟต์แวร์ระบบจำแนกออกเป็น 2 ประเภทคือ ระบบปฏิบัติการ(Operating System : OS)และโปรแกรมอรรถประโยชน์(Utility Programs)


ระบบปฏิบัติการ


ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่เป็นสื่อการของกิจกรรมต่างๆระหว่างโปรแกรมประยุกต์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และผู้ใช้ทำงานกับโปรแกรมประยุกต์ ตัวอย่างระบบปฏิบัติได้แก่ ระบบปฏิบัติการดอส ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ ระบบปฏิบัติกายูนิกซ์และระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เช่น Windoe 98 ,Windows ME และ Wimdows XP เป็นต้น


โปรแกรมอรรถประโยชน์


โปรแกรมอรรถประโยชน์เป็นซอฟต์แวร์ระบบที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของคอมพิวเตอร์โปรแกรมและอุปกรณ์ต่างๆทำหน้าที่ดูแลความปลอดภัยและเสถียรภาพของคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างโปรแกรมอรรถประโยชน์เช่นโปรแกรมสำหรับสำลองข้อมูลที่สำคัญในฮาร์ดดิสก์โปรแกรมตรวจสอบข้อมูลความถูกต้องของขูอมุลในฮาร์ดดิสก์โปรแกรมที่ช่วยในการจัดระเบียบข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เพื่อให้สามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้รวดเร็ว เป็นต้น


ซอฟต์แวร์ประยุกต์


สำหรับประยุกต์เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนให้คอมพิวเตอร์ทำงานในด้านต่างๆตามความต้องการของผู้ใช้ซึ่งถ้าโปรแกรมพัฒนาขึ้นเพื่อความต้องการเฉพาะขององค์การใดองค์การหนึ่งเราเรียกซอฟต์แวร์ประเภทนี้ว่าซอฟต์แวร์เฉพาะงานซึ่งข้อดีของโปรแกรมชนิดนี้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามความประสงค์ของหน่วยงานแต่ข้อเสียคือซอฟต์แวร์ประเภทนี้ใช้เวลาการพัฒนานานและค่าใช้จ่ายสูง จึงมีการพัฒนาโปรแกรมสำหรับงานทั่วไปที่เรียกว่าโปรแกรมสำเร็จรูป


โปรแกรมประมวลผลคำ


โปรแกรมประมวลผลคำเป็นโปรแกรมสำหรับสร้างแก้ไขจัดรูปแบบตลอดจนจัดพิมพ์งานเอกสารให้อยู่ในรูปแบบของรายงานจดหมายหนังสือบทความของสิ่งพิมพ์อื่นๆนอกจากนี้ยังมีเครื่องมือช่วยตรวจตัวสะกดและไวกรณ์ ช่วยจัดย่อหน้าในการพิมพ์ จดระยะห่างของบรรทัด ใส่รูปจากแหล่งอื่นๆ ตาราง อักษรศิลป์อีกทั้งยังสามารถนำข้อมูลชนิดที่เป็นตารางเข้ามาแปลงให้เป็นข้อความได้อีกด้วย นับได้ว่าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำที่ใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ โปรแกรมMicrosoft Word ,WrodPerfectและLotus Pro เป็นต้น

โปรแกรมด้านการคำนวณ

โปรแกรมดานการคำนวณ(Spreadsheet)มีลักษณะเป็นกระดาษทำการที่ประกอบไปด้วยช่องตาราง หรือเลียกว่า เซลล์ เรียกตามแถวแคอลัมน์ สามารถพิมพ์ข้อมูลที่เป็นอักษร ตัวเลข และสูตรการหาค่าต่างๆความสามารถของการคำนวณนียังช่วยให้ผู้ใช้ลดขั้นตอนในการคำนวณต่างๆในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น เมื่อมีการคำนาณผลในตารางเรียบร้อยแล้ว แต่ภายหลังต้องแก่ไขตัวเลข ผู้ใช้ก็พิมพ์ตัวเลขที่ต้องการแก่ไขลงในตารางทันทีโดยไม่ต้องไปคำนวณผลใหม่อีก เนื่องจากโปรแกรมจะทำการปรับผลลัพธ์ให้โดยอัตโนมัติ ลักษณะงานที่ใช้ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เช่นงานบัญชีที่มีการคำนวณงบกำไร-ขาดทุน รจัดทำกาฟเปรียบเทียบ เพราะนำข้อมูลจากตารางมาแปลงให้เป็นสารสนเทศในรูปแบบกราฟสถิติหรือกาฟเปรียบเทียบ ซึ่งมีรูปแบบที่สวยงามหลายรูปแบบให้เลือกใช้ ตัวอย่างโปรแกรมด้านการคำนวณ เช่น โปรแกรมMicrosoft Excel,Lotus1-2-3และQuattro proเป็นต้น

โปรแกรมการเสนอข้อมูล

โปรแกรมการนำเสนอข้อมูลเป็นโปรแกรมประยุกต์ที่สามารถสร้างเอกสารในรูปแบบแผ่นสไลด์ เหมาะสำหลับงานนำเสนอหลายรูปแบบด้วยความสามารถของโปรแกรมที่มีเทคนิคการนำเสนอที่ตื่นเต้นเล้าใจ ทำให้เกิดความดึงดูดใจในการนำเสนอภาพนิงและภาพเคลื่อนไหว
โปรแกรมการจัดการด้านฐานข้อมูล
โปรแกรมการจัดการด้านฐานข้อมูลเป็นโปรแกรมสำหลับสร้างฐานข้อมูลเพื่อนำไปจัดเก็บให้สามารถจัดการข้อมูลได้ เช่น เพิ่ม ลบ แก้ไข และการค้นหาข้อมูลตามเงื่อนไขซึ่งทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โปรแกรมด้านการจัดการด้านฐานข้อมูลนี้ยังสามารถประยุกต์เป็นโปรแกรมการจัดการข้อมูลอื่น เช่น การจัดการสินค้าคงคลัง ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลบุคลา
กร เป็นต้น
โปรแกรมด้านการพิมพ์
โปรแกรมด้านการพิมพ์เป็นโปรแกรมสำหรับช่วยผลิตงานสิ่งพิมพ์ต่างๆหลายรูปแบบ เช่น แผ่นพับ ใบปลิว จดหมายข่าว บัตเชิญ นามบัตร เป็นต้น โปรแกรมด้านการพิมพ์ที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่ Microsoft Publisher และ Adobe PageMaKer เป็นต้น
โปรแกมกราฟิก
ดปรแกรมกราฟิกเป็นโปรแกรมที่ช่วยสร้างงานและออกแบบงานกราฟิกมาตกแต่งเพิต่างๆ เช่น การวาดภาพ การนำรูปภาพที่มีอยู่แล้วมาตกแต่งเพิ่มเติมความสามารถของโปรแกรมประเภทนี้คือ เปลี่ยนแปลงภาพธรรมดาให้สวยขึ้น โปรแกรมด้านกราฟิกที่นิยมใช้สำหรับตกแต่งภาพทั่วไป ได้ Adobe Photoshop Microsoft Pain และ CorelDraw เป็นต้น

วันอังคารที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2553

บทที่2 ฮาร์แวร์

ฮาร์แวร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์นั้นฮาร์แวร์เป็นส่วนประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ฮาร์แวร์ประกอบไปด้วยส่วนประกอบ 5 ส่วนคือ 1.อุปกรณ์รับข้อมูล 2.หน่วยประมวลผลกลางหรือCPU 3.หน่วยความจำ 4.อุปกรณ์แสดงผล5.อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง
อุปกรณ์รับข้อมูล
อุปกรณ์รับข้อมูล(Input Devices) คือ ฮาร์แวร์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูล โปรแกรมและคำสั่งเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์การใช้อุปกรณ์รับข้อมูลจะขึ้นอยู่กับลักษณะของโปรแกรมประยุกต์และความสะดวกในการใช้งาน อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ เมาส์ กล้องดิจิทัล แสกนเนอร์ เป็นต้น
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยประมวลผลกลางหรือCPUเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วย2ส่วนสำคัญ คือ หน่วยควบคุม(Control Uni)ซึ้งทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ทุกส่วน และหน่วยคำนวณและตรรกะ ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ (เช่นบวก ลบ คูณ หาร) และเปลียบเทียบทางคณิตศาสตร์ เช่น มากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ
หน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำหลัก(Mani Memory) คือ ชิปหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้บันทึกโปรแกรมและข้อมูล หน่วยความจำหลักจะบรรจุอยู่บนแผงวงจรหลักหรือเลียกว่าเมนบอร์ด(main Board)หน่วยจัดเก็บข้อมูลจะใช่หน่วย[byte]กิโลไบต์[Kilobyte]เมกะไบต์[megabyte]กิกะไบต์[Gigabyte]และเทราไบต์[terabyte]หน่วยความจำหลัที่รู้จักกันดดยทั่วไปจะมี3ประเภท คือแรม รอม และซีมอส
หน่วยควมจำแรม
Random Access Memory : Ramเป็นอุปกรณ์แผงวงจรที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ถูกจัดเก็บในหน่วยควมจำแรมจะถูกลบหายไปเมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำรอม
Read-only memory:romเป็นหน่วยความจำที่บันทึกข้อสนเทศและคำสั่งเริ่มต้นของระบบคุณสมบัติเด่นของรอมคือข้อมูลแลคำสั่งจะไม่ถูกลบหายไป ถึงแม้ว่าจะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม
หน่วยความจำซีมอส
CMOSย่อมาจากComplementary Metal-Oxide Semiconductor เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อสนเทศที่ใช้เป็นประจำของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ประเภทของแป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพและเครื่องอ่านแผ่นดิตต์CMOSใช้กระแสไฟจากแบตเตอรี่ ดังนั้นเมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อสนเทศCMOSจึงไม่หายไป
อุปกรณ์แสดงผล
อุปกรแสดงผล(Output Devices)เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลอาจแสดงในรูปของการพิมพ์รายงานด้วยเครื่องพิมพ์ การแสดงผลทางจอภาพ และการแสดงในรูปของเสียงและวีดีโอเป็นต้น
อุปกรเก็บข้อมูลสำรอง
อุปกรเก็บข้อมูลสำรอง(Secondary Storage Devices)ใช้สำหลับจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล โดยสามารถจัดเก็บไว้ได้ถึงแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรองที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ แผ่นดิสเกตต์ ฮาณดดิสก์ แผ่นคอมแพ็คดิสก์และแผ่นดีวีดี

วันเสาร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2553

บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ ด.ช.ธีรภัทร แสงอภัย ม.1/4 เลขที่ 14

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการต่อการดำเนินกิจกรรมต่างๆ เช่น การกดเงิน เป้นต้น
ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information Technology)เทคโนโลยีหมายถึงการประยุกเอาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เช่น การสื่อสารเป็นต้น สารสนเทศหมายถึงเป็นขอมูลที่ผ่านการประมวลผลและเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามาเกี่ยวข้องต่อชีวิตประจำวันของเรามากขึ้น
การบันทึกข้อมูลเป็นการนำเสนอเข้าสู่ระบบเพื่อใช้ในการประมวลผล
การประมวลผลเป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมจากอุปกรณ์รับข้อมูลและจากสื่อเก็บข้อมูลต่างๆ
การแสดงผลเป็นการนำผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลไปแสดงยังไปยังอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผล
การสื่อสารและเครือข่ายเป็นการส่งข้อมูลและสารสนเทศจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
องประกอบของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ฮาร์แวหมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณืต่อพ่วง
ซอฟแวร์หรือโปรแกรมเป็นชุดคำสั่งเพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์และฮาร์แวทำงาน
ข้อมูลเป็นอุปกรณ์เพื่อใช้ในการประมวลผลให้ได้สารสนเทศในการตัดสินใจ
การสื่อสารเป็นการเชื่อมคอมพิวเตอร์และการสื่อสารแลกเปลี่ยนโปรแกรมข้อมูล
กระบวนการทำงานเป็นกฎหรือข้อปฏิบัติคำแนะนำในการใช้โปรแกรมฮาร์แวร์และการทำงานกับข้อมูล
บุคลากรเป็นบุคคลที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทสในชีวิต
ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้งานในองค์การอย่างแพร่หลาย
การทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบันการทำธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย
การให้บริการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลมีนโยบายที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการบริการแก่ประชาชนเพื่อให้เกิดการบริหารงานที่เป็นรับบาลอิเล็กทรอนิกส์และปัจจุบันหน่วยงานจำนวนมากได้รับบริการผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เช่น การชำละภาษีออน
ไลน์
การเรียนการสอนองคืการทางการศึกษาก้ได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยงานอย่างกว้างขวาง เช่นการนำเสนองาน
การอ่านหนังสื่อดิจิทัลการค้นคว้าข้อมูลจากห้องสมุดซึ้งปัจจุบันห้องสมุดได้มีการเปลี่ยนข้อมูลเอกสารให้สามารถจัดเก็บอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัล
การค้นหาตำแหน่งระบบ GPS เป็นระบบที่ใช้วิเคราะห์และระบุตำแหน่งของคน สัตว์ สิ่งของ โดยระบบดาวเทียม
คอมพิวเตอร์เพื่อความบันเทิงคอมพิวเตอสามารถนำมาใช้สรางความบันเทิงได้อย่างหลากหลายไม่ว่าจะเป็นการดูหนัง ฟังเพลง ร้องคาราโอเกะหรือเล่นเกมส์